ข้อธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของฆราวาส

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน)

 

[ข้อธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของฆราวาส]

 

 

สรณคมน์

บัดนี้ เพื่อความเป็นผู้ฉลาดในสรณคมน์เหล่านั้นจึงควรทราบวิธีนี้

คือ สรณะ การถึงสรณะ ผู้ถึงสรณะ ประเภทแห่งการถึงสรณะ

ผลแห่งการถึงสรณะ สังกิเลส (ความเศร้าหมอง) และเภทะ (ความหมดสภาพ)

(อรรถกถาภยเภรวสูตร)

เล่ม ๑๗ หน้า ๓๒๖ (ปกสีน้ำเงิน)

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๑

https://www.tripitaka91.com/17-326-12.html

 

" มนุษย์เป็นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ว

ย่อมถึงภูเขา ป่า อาราม และรุกขเจดีย์ว่าเป็นที่พึ่ง;

สรณะนั่นแลไม่เกษม, สรณะนั่นไม่อุดม,

เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้.

ส่วนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง ย่อมเห็นอริยสัจ ๔

(คือ) ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ

ซึ่งยังสัตว์ให้ถึงความสงบแห่งทุกข์ ด้วยปัญญาชอบ;

สรณะนั่นแลของบุคคลนั้นเกษม, สรณะนั่นอุดม,

เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้. "

(เรื่องปุโรหิตชื่ออัคคิทัต)

เล่ม ๔๒ หน้า ๓๔๖ (ปกสีน้ำเงิน)

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๓

https://www.tripitaka91.com/42-346-13.html

 

ตีณิสรณาคมนิยเถราปทานที่ ๓ (๒๓)

ว่าด้วยผลแห่งการรับสรณะ ๓

เล่ม ๗๑ หน้า ๙๒ (ปกสีน้ำเงิน)

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม ๘ ภาค ๒

https://www.tripitaka91.com/71-92-1.html

 

๘. สิงคาลกสูตร

เรื่อง สิงคาลกคฤหบดีบุตร - ว่าด้วยคิหิปฏิบัติ

เล่ม ๑๖ หน้า ๗๗ (ปกสีน้ำเงิน)

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เล่ม ๓ ภาค ๒

https://www.tripitaka91.com/16-77-1.html

 

 

รวมเรื่องพระภิกษุ รับ ให้รับ หรือยินดี ทอง-เงิน อันเขาเก็บไว้ให้ ต้องอาบัติ และเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

   

รวมเรื่องพระภิกษุ รับ ให้รับ

หรือยินดี ทอง-เงิน อันเขาเก็บไว้ให้ ต้องอาบัติ

และเรื่องที่เกี่ยวข้อง

เรื่องพระวัชชีบุตรแสดงวัตถุ ๑๐ ประการ

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

เรื่องพระวัชชีบุตรแสดงวัตถุ ๑๐ ประการ 

 

เล่ม ๙ หน้า ๕๓๐-๕๕๘ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๕๑๙-๕๔๕ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก จุลวรรค เล่ม ๗ ภาค ๒

อธิบายการบริโภคปัจจัยมี ๔ อย่าง

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

อธิบายการบริโภคปัจจัยมี ๔ อย่าง

  

เล่ม ๓ หน้า ๙๕๑-๙๕๕ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๘๙๘-๙๐๑ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓

อาปัตตาธิกรณ์ระงับด้วยสมถะ ๓ อย่าง (ต้องลหุกาบัติ)

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

อาปัตตาธิกรณ์ระงับด้วยสมถะ ๓ อย่าง 

(ต้องลหุกาบัติ)

 

 

เล่ม ๘ หน้า ๕๙๘-๖๐๐ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๕๓๔-๕๓๗ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก จุลวรรค เล่ม ๖ ภาค ๑

การบัญญัติสิกขาบทที่มิได้ทรงบัญญัติ หรือการถอนสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้แล้ว โดยนัยว่า ปาจิตตีย์ ทุกกฏ เป็นต้น นี้เป็นพุทธวิสัย.

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

“การบัญญัติสิกขาบทที่มิได้ทรงบัญญัติ

หรือการถอนสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้แล้ว

โดยนัยว่า ปาจิตตีย์ ทุกกฏ เป็นต้น นี้เป็นพุทธวิสัย.”

 

เล่ม ๓ หน้า ๙๑๕ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๘๖๓ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓

[อธิบายวิธีเสียสละและวิธีแสดงอาบัติ] (จีวรเป็นนิสสัคคีย์)

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

[อธิบายวิธีเสียสละและวิธีแสดงอาบัติ]

(จีวรเป็นนิสสัคคีย์)

 

เล่ม ๓ หน้า ๗๐๙-๗๑๓ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๖๖๙-๖๗๓ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓

D-study.com

ช่องทางการติดต่อ

facebook FaceBook

phone 0894453994